ทางบริษัท เน็ตคอมไพล์ จำกัด ได้รับโอกาสให้ได้เข้าไปศึกษาและพัฒนาระบบคลังสินค้า ของบริษัท สยามเอที อุตสาหกรรม จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ให้กับบริษัทชั้นนำทั้งในประเทศและนอกประเทศ
ซึ่งได้พัฒนาระบบโดยในส่วนการทำงานของระบบ เชื่อมต่อข้อมูลเข้ากับระบบ SAP ที่เป็นระบบ ERP หลักของทางบริษัทที่ได้ใช้งานในการบริหารจัดการข้อมูลทั้งหมด ทางเราได้ทำการออบแบบระบบเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถลดเวลา ขั้นตอนการทำงาน และเพิ่มประสิทธิภาพ ของการทำงานขึ้น และได้ทำการติดตั้งและใช้งานระบบจริงในช่วงปี 2020 เป็นต้นมา
1. จัดการผู้ใช้งาน
2. กำหนดกลุ่มผู้ใช้งาน
3. กำหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูล
4. เชื่อมต่อระบบ Active Directory
5. จัดการข้อมูลหน่วยงาน
6. กำหนดผู้อนุมัติ 2 ระดับ
7. จัดการ module การใช้งานในระบบ
8. ตั้งค่าระบบ E-mail
9. กำหนดพื้นที่การทำงาน โรงงาน โซน ไลน์การผลิต
1. จัดการข้อมูลวัตถุดิบ
2. จัดการข้อมูลสินค้า
3. จัดการข้อมูลรหัสค่าใช้จ่าย
4. จัดการข้อมูลลูกค้า
5. จัดการข้อมูลผู้ผลิต
6. จัดการข้อมูลการเชื่อมต่อ SAP
7. จัดการข้อมูลคำสั่งซื้อ
8. จัดการแผนการใช้วัตถุดิบ
9. จัดการข้อมูลคำสั่งขาย
10. จัดการพื้นที่การจัดเก็บวัตถุดิบ
1. การสร้าง KANBAN
2. การพิมพ์ KANBAN เพื่อทดแทน
3. การยกเลิก KANBAN
4. การเชื่อมโยงข้อมูล KANBAN ด้วย QR Code
5. ประวัติการพิมพ์ KANBAN
6. แยกระบบ KANBAN วัตถุดิบและสินค้า
1. อัพโหลดข้อมูลการสั่งซื้อจาก SAP
2. สร้างเอกสารเรียกวัตถุดิบ
3. รับเข้าวัตถุดิบ นำข้อมูลเข้าสู่ SAP
4. การรับงานค้างส่ง (BACK ORDER)
5. ตัดจ่ายวัตถุดิบเข้าไลน์ผลิต และนำข้อมูลเข้าสู่ SAP
6. สรุปสถานะวัตถุดิบค้างส่ง
7. สรุปแผนการสั่งซื้อและการรับวัตถุดิบ
8. สถานะคลังวัตถุดิบคงเหลือ
1. อัพโหลดข้อมูลคำสั่งขายจาก SAP
2. สร้างใบสั่งขายในระบบ
3. ทำการเปิดขาย
4. ยืนยันข้อมูลการขายเข้าระบบ SAP
5. ตรวจสอบสถานะคำสั่งขาย
6. ตรวจสอบสถานะคลังสินค้าคงเหลือ
7. รับสินค้าจากไลน์ผลิตเข้าสู่ระบบ SAP
8. ตรวจสอบแผนการจัดส่ง
1. อัพโหลดข้อมูลคำสั่งซื้อจากระบบ SAP
2. ออกเอกสารสั่งซื้อวัสดุ
3. รับเข้าวัสดุและส่งข้อมูลระบบ SAP
4. จัดการแผนความต้องการใช้วัสดุ
5. การแจ้งขอใช้วัสดุและการอนุมัติออนไลน์
6. การตัดจ่ายวัสดุตามใบเบิก
7. ส่งข้อมูลการตัดจ่ายเข้าสู่ระบบ SAP
8. ตรวจสอบรายการค้างส่ง
9. ตรวจสอบแผนการจัดส่งวัสดุ
10. ตรวจสอบสถานะคลังวัสดุคงคลัง
1. รายการรับเข้าวัตถุดิบ
2. รายการรับเข้าวัสดุสิ้นเปลือง
3. ทำการตั้งหนี้ (LIV) จากระบบคลังสินค้า ส่งข้อมูลไปยังระบบ SAP
4. การตั้งหนี้แบบหลายเอกสาร
5. ตรวจสอบสถานะการตั้งหนี้
6. การยกเลิกการตั้งหนี้
7. การตั้งหนี้โดยใช้เลข GR จากระบบ SAP
1. รายงานแยก module ชัดเจน
2. รายงานสถานะการออกเอกสารสั่งซื้อ
3. รายงานสถานะการจัดส่ง
4. รายงานสถานะสินค้าค้างส่ง
5. รายงานการเบิกจ่ายวัสดุ
6. รายงานเข้าสินค้า
7. รายงานการขายสินค้า
8. รายงานการตั้งหนี้
9. รายงานแผนการจัดส่งรายเดือน
10. รายงานสถานะวัตถุดิบ สินค้า วัสดุ คงคลัง
11. รายงานสถานะจำนวนสั่งซื้อคงเหลือ
12. รายงานอื่นๆ